วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ตอนที่ 2...เมื่อverbแปลงร่างกลายเป็นNoun





            สวัสดีค่า ได้เวลาอัพบล็อก  เมื่อตอนที่แล้วเนี่ยว่ากันด้วยเรื่องตายๆ 555+ ฟังดูน่ากลัว อย่างที่ว่าคันจิสองตัวเมื่อเอามาประกบกัน มันสร้างคำเก๋ๆขึ้นมาได้หนึ่งคำเลยนะ จากคราวที่แล้วเนี่ยมันเลยทำให้เราคิดขึ้นมาได้เรื่องนึงค่ะ จากประสบการณ์ของตัวเอง คือเวลาเขียนซักคุบุนหรือแต่งประโยค(เนื่องจากไม่รู้คันจิ)ก็เลยชอบใช้คำกริยามาต่อกันเพื่อสร้างคำ แต่จากที่เรียนและสังเกตุมา คนญี่ปุ่นเขาจะชอบใช้คำนามมากกว่าค่ะ คือใช้คำนามหนึ่งคำแทนคำกริยาไปเลย วันนี้เราเลยลองไปรวบรวมคำกริยาที่เราเห็นกันบ่อยจากข่าวมาค่ะ คำแรกเลยย


始まる   ➡   開幕


           เวลาที่เราต้องการจำบอกว่า งานอะไรซักอย่างได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว เราจะชอบใช้รูปประโยคเช่น 祭りが始まる」ใช่ไหมคะ แต่จริงๆคำนี้มีคำนามอยู่ด้วยค่ะนั้นคือคำว่า開幕 (かいまく) ซึ่งแปลว่า การเปิดฉาก การเริ่มต้น นั่นเองง ซึ่งคนญี่ปุ่นใช้กันทั่วไปเวลามีการเปิดการแข่งขึ้น เริ่มต้นฤดูกาลแข่งบอล หรือละครเริ่มจัดแสดง เป็นต้นค่ะ


    

     

       

   やめさせる ➡  解    

    

    เวลาทำงานถ้าเจอคำนี้เข้าคงอึ้งกิ่มกี่ นั่นก็คือให้ออกหรือไล่ออกนั้นเองค่ะ ตามปกติเราคงเคยชินกับรูปประโยคเช่น わたしを辞めさせたくない」 แปลเป็นไทยก็ฉันไม่อยากโดนไล่ออก มาดูคำนามของคำนี้ดีกว่านะคะ นั่นคือคำว่า(かいにん)ที่แปลว่า การเลิกจ้างหรือการไล่ออกค่ะ คำนี้เราอาจจะได้เห็นเวลาอ่านหนังสือพิมพ์ของญี่ปุ่นค่ะ 




多くする     ➡   拡


            ต่อกันเลยกับคำนี้ คิดว่าทุกคนคงคุ้นกับคำกริยาตัวนี้นะคะซึ่งแปลว่า ทำให้มากขึ้น ขยายออกไปตัวอย่างก็เช่นページ数をなるべく多くすทีนี้มาดูคำนามกันบ้าง นั่นคือออ(かくだい)ซึ่งก็แปลว่า การแพร่,การขยายไปในวงกว้าง คำนี้เราจะเห็นบ่อยๆตามหน้าเว็บไซด์ของญี่ปุ่น ใกล้ๆกับแว่นขยายค่ะ 
 
 



              ค่ะ และเพื่อไม่ให้ยาวยืดไปจนเหมือนหนังสือเรียน วันนี้ก็จะขอเสนอคำเพียงเท่านี้ก่อนนะคะ อ่านวันละนิดเพิ่มไปวันล่ะหน่อยน่าจะดีกว่าเนอะ อย่าลืมติดตามกันใหม่ตอนหน้านะคะ

8 ความคิดเห็น:

  1. บทความทำดีๆๆ รูป ตัวหนังสือใหญ่ เนื้อหาเข้าใจง่าย คริคริ

    ตอบลบ
  2. อ่านง่ายมาก และมีภาพประกอบ น่าชมเชยค่ะ

    ตอบลบ
  3. はじめまして。バナナを前面に押し出してますねー
    日本にもバナナのことわざあるのかな??ないんじゃないかな、、、うーーん、、と考えていたらブログタイトルと逆で恐縮ですが、「学問に王道なし」ということわざが浮かびました。そうはいっても、簡単で楽しいことからでも積み立てられていったらいいですよね。

    さて、今回「開幕」「解任」「拡大」の3語を紹介されていましたね。

    「開幕」について、確かに「オリンピックが開幕する」「開幕戦」のような使い方はありますが「さあ、高校野球決勝戦の開幕です」のように使うのは自然ですか?「あの演劇、開幕のシーンがとってもよかったよね」はどうですか??
    「開幕」は「始まる」よりも使用範囲がかなり狭い言葉だと思いますし、この説明でほんとに使えるのかなーと内心ちょっと不安になりました。
    開始・開演・開会・幕開けなんて語も「開幕」とは別にありますし。
    ほかにも、開館・開演・開港・開講・開設・開店・開戦・発足・始業・・・「始まる」を名詞にしたかったら本当にいろいろな言葉があると思います。
    ただ、言葉集めはパンクしない程度に。

    「解任」「拡大」についても同じです。「やめさせる」「多くする(⇒大きくするでしょうか?)」よりも使える場合がだいぶ少ないかな、と思います。

    ブログは写真もあるし、とっても読みやすかったです。
    使いたい!という言葉をこつこつと集めて、漢字がたくさんの作文が書けるようになるといいですね。

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. はじめまして
      コメントをしてくれて、本当にありがとごさいます。
      私、もう一度情報を詳しく調べてみました。動詞のほうが使う場合が多いですね。今度は今回よりよく情報を調べます。
      ありがとごさいます。

      ลบ
  4. เขียนได้กระชับ แล้วเข้าใจง่ายดีมากค่ะ ชอบมากเลยค่ะ :)

    ตอบลบ